นอกจากหวยรัฐบาลไทยที่หลายคนให้ความสนใจและนิยมเป็นอย่างมากแล้ว อีกหนึ่งประเภทหวยที่ได้รับความนิยมไม่แพ้กันเลยนั่นก็คือ หวยออมสิน หลายคนคงจะคุ้นเคยและได้ยินกันบ่อย ๆ อยู่แล้ว สำหรับ หวยออมสิน นั้นจะเป็นการเน้นเก็บออมเงินมากกว่าการเสี่ยงดวง แต่ก็เป็นมีโอกาสได้ลุ้นเรางวัลก้อนโตบ่อย ๆ เช่นกัน วันนี้ Lottosodz เวปแทงหวยออนไลน์ อันดับหนึ่ง จะพาคุณไปทำความรู้จักกับ หวยออมสิน กันว่าคืออะไร และมีการออกรางวัลอย่างไร
หวยออมสิน คืออะไร
หวยออมสิน คือ การออมเงินระยะยาวซึ่งมีทั้งแบบอายุฝาก 3 ปีและ 5 ปี โดยที่เราจะไม่สามารถนำเงินในส่วนตรงนั้นมาใช้ได้เลย แต่เมื่อไหร่ที่ครบกำหนดเราจะได้รับทั้งเงินต้นพร้อมกับดอกเบี้ย ซึ่งดอกเบี้ยที่ได้รับนั้นก็จะขึ้นอยู่กับจำนวนเงินที่ฝาก และผลตอบแทนที่ได้รับจากการถูกรางวัล หวยออมสิน ซึ่งในการลงทุนเราสามารถลุ้นรางวัลได้ตลอดทั้งปี ในส่วนของสลาก 3 ปีจะมีการออกรางวัลในวันที่ 16 ของเดือน และสลาก 5 ปีก็จะมีการออกรางวัลทุก ๆ วันที่ 1 ของเดือนนั่นเอง
หวยออมสิน ออกรางวัลอย่างไร
หวยออมสิน ออกรางวัลอย่างไร ก็จะมีการออกรางวัล หวยออมสิน ดังต่อไปนี้
– รางวัลที่ 1 ออก 3 ครั้ง ครั้งละ 10,000,000 บาท
– รางวัลที่ 2 ออก 1 ครั้ง ครั้งละ 100,000 บาท
– รางวัลที่ 3 ออก 2 ครั้ง ครั้งละ 20,000 บาท
– รางวัลที่ 4 ออก 5 ครั้ง ครั้งละ 5,000 บาท
– รางวัลพิเศษ ออก 1 ครั้ง ครั้งละ 1,000,000 บาท
เงื่อนไขของการซื้อ หวยออมสิน
สำหรับเงื่อนไขการซื้อ หวยออมสิน มีเงื่อนไขการซื้อดังนี้
– รับฝากเป็นหวย รับฝาก ทุกวันยกเว้นวันที่มีการออกรางวัล
– สลากจะมีอายุ 1 , 3 , 5 ปี ขึ้นอยู่กับราคาจำหน่ายของสลาก
– รับซื้อฝาก หวยออมสิน ขั้นต่ำที่ครั้งละ 200 บาท สูงสุดไม่เกินครั้งละ 2,000,000 บาท
– บุคคลทธรรมดาทั่วไปสามารถเปิดบัญชีและซื้อสลากได้ตั้งแต่ 15 ปี และจะต้องมีบัญชีธนาคารเผื่อเรียกของธนาคารออกสินก่อน เมื่ออายุครบจะได้รับเงินต้นและดอกเบี้ยจาก หวยออมสิน ตามกำหนด
เป็นอย่างไรกันบ้างการกับออมเงินและการเสี่ยงดวงที่หากมองภาพโดยรวมแล้วก็จะพบได้ว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าไม่น้อยเลยทีเดียว เพราฉะนั้นหากใครที่สนใจอยากออมเงินไปพร้อมกับการเสี่ยงดวงด้วยการแทงหวยผ่านเว็บ Lottosodz เว็บแทงหวยออนไลน์ทที่น่าเชื่อถือที่สุด หวยออมสินตอบโจทย์ความต้องการได้ดีไม่น้อยเลยทีเดียว แต่อย่างไรก็ตามเพื่อสิทธิประโยชน์ขอตนเองควรศึกษาและทำความเข้าใจให้ก่อนทุกครั้ง เพื่อจะไม่ได้ไม่เกิดข้อผิดพลาดได้ง่ายนั่นเอง